วิธีการแยกแยะชวนชมสายบางคล้า
ไม้สายบางคล้า จะมีคุณสมบัติดังนี้
1. ลูกที่ได้หลากหลายฟอร์ม เช่น มุงกุฎทอง(มกท.), เขาหินซ้อน(ขหซ.), มุงกุฎเพชร(มกพ.), ชฎาเพชร(ชฎพ.) ปะปนกันไป
2. เมล็ดพันธุ์ ใน 1 ฝัก จะให้ลูกออกมา ดอก ต้น ใบ ฟอร์ม ที่แตกต่างกันไป แม้จะผสมเองด้วยมือ (ไม่นิ่ง)
3. การกลายในลักษณะด้อยที่มีน้อย เช่น ต้นแคระ แฝด ด่าง
ทั้งหมด คือลักษณะของกิ่งบางคล้า เมื่อเพาะเม็ดสายนี้ เขาจะคัดต้นที่มีฟอร์มต่างออกจากกัน แล้วเรียกชื่อตามฟอร์มนั้น ๆ และท้ายที่สุด ต้นที่ไม่มีฟอร์มจะใช้ชื่อบางคล้า
....ชื่อแรก มกท. เกรดเอ คัดเอาไปขายสำหรับคนชอบสวมไม้
....ชื่อที่ 2 เขาหินซ้อน สำหรับคนชอบมวยรอง กิ่งขนานแต่กิ่งยืด แตกกิ่งเยอะ
....ชื่อที่ 3 มกพ. สำหรับฟอร์ม กิ่งชี้ 45 องศา
....ชื่อที่ 4 ชฎพ. ถ้าใบออกฟ้ากิ่งถี่
....ชื่อที่ 5 บางคล้า เป็นชื่อสุดท้ายที่ไร้ฟอร์ม
.... ใบ ดอก ของแต่ละชื่อมีลักษณะอย่างไร ตอบได้เลยว่า ไม่เหมือนกันซักต้น เพราะว่ากิ่งแม่พันธุ์ที่
เรามีอยู่ มันยังไม่ได้ผ่านการปรับปรุงสายพันธุ์ จนสามารถให้ลูกได้มีลักษณะที่เหมือนกันทั้งหมด
ดังนั้นท่านไม่ต้องแปลกใจว่า ชื่อไม้เดียวกัน ทำไม จึงไม่เหมือนกัน
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgSS6pgR3tnRiUHyZt8KzQyADt9irqCYLffNF4DsFsxKC2lMalHc50EBk8FkrtIDIcC7rdy1dlPqKhsFC2hiep3xMLNf3POOqo_hHE7lzVuC3Ya7U5rV_cmknDIUvSWq_nJoWRfj0zkamw/s320/11-20081021181752.jpg)
ภาพที่ 1 เป็นเขาหินซ้อน เป็นลูกของกิ่งดำริ
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhJYOISdCqpr47XVZX1LAD-5EXtzUONwsn-Jl5-q3iJRgMI8t6UknnX67HP8cLdf51JZjnBgjlGN_KETxgN0JwJwks4ha3ffJ9glFA3Ga0QIOzHkX1NU-2-jlrxwlOcKm26yNtpSUfoOYk/s320/11-20081021181834.jpg)
ภาพที่ 2 เขาหินซ้อน เป็นลูกของกิ่งดำริ
ทั้ง 2 ต้น ใบ กิ่ง ฟอร์ม ดอก แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
ตัวอย่างฟอร์ม
1. มกท. กิ่งขนานพื้น รากสวย สวยไร้ที่ติ กิ่งส่วนใหญ่แตกจากคอไม้ กิ่งย่อยน้อย จะแตก
กิ่งย่อยมากเมื่อไม้ได้อายุแล้ว
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgPjs26ma1AYIkvQ8IIZqGURRrtP4icjmWUFvEC45Pq9TuMlOm9NWjf1563-jMrmJi_Rx7hRV7SBBhi7eRbRpbaz5YI2_9QRSY-KnUAUaM1sgp4gq08w3OOKnDUv9QNx3FQkJjT-4ckbtE/s320/11-20081021181918.jpg)
ต้นจริง
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEioEKmOeZb_jrvNdeXbTaaTxAy0ry0wmTINPgozEQApG3cW0wsj9KUM3I2oqT1Gd3ZzAitNIs_z77Nfsh37pfffqWCAXGWn0b2eKQ4PS7WaqAvzuJfXIQgyn8qw_OCzlhmQmED1ZN66U8M/s320/11-20081021181953.jpg)
2. มกพ. ตำหนิตรงที่ ต้นขาว ผิวสวย กิ่งชี้ 45 องศา ไม่นาดพื้น มีคอไม้
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhEzbyblOQcU27FLIeybg_NGoGIXo-uJ0ZUEwTwByaXwQ1eyMRSISROnv2lTphrL_asNtUZHgxfcTwklLbd0WIKHFNKJZ_6U2rlBE5AHfDIOr6KfSVjATmXjLtUoK6OiehYTv-P79EaJXw/s320/11-20081021182030.jpg)
ต้นจริง
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiQ_HH5BohBoh2BvRRSEpbilMLhbRxp9gUMDxR5Kl5Fr6gKDoJbykiS-8yWQQfeN0caz9odd2TP6IGVwNR1ccMGUnJAaCgqjOz5558gnUwVT53TYv-82H7nYwc6ATP7AbyEqzBwN5Tvrus/s320/11-20081021182110.jpg)
3. เขาหินซ้อน ตำหนิรูปพรรณสัญฐาน คล้าย มกท. ต่างตรง กิ่งยืดกว่า(อันนี้แล้วแต่แดดด้วย) และกิ่งเยอะกว่า แตกกิ่งแขนง(กิ่งย่อย)ไวกว่า และมากว่า มกท.
1. ลูกที่ได้หลากหลายฟอร์ม เช่น มุงกุฎทอง(มกท.), เขาหินซ้อน(ขหซ.), มุงกุฎเพชร(มกพ.), ชฎาเพชร(ชฎพ.) ปะปนกันไป
2. เมล็ดพันธุ์ ใน 1 ฝัก จะให้ลูกออกมา ดอก ต้น ใบ ฟอร์ม ที่แตกต่างกันไป แม้จะผสมเองด้วยมือ (ไม่นิ่ง)
3. การกลายในลักษณะด้อยที่มีน้อย เช่น ต้นแคระ แฝด ด่าง
ทั้งหมด คือลักษณะของกิ่งบางคล้า เมื่อเพาะเม็ดสายนี้ เขาจะคัดต้นที่มีฟอร์มต่างออกจากกัน แล้วเรียกชื่อตามฟอร์มนั้น ๆ และท้ายที่สุด ต้นที่ไม่มีฟอร์มจะใช้ชื่อบางคล้า
....ชื่อแรก มกท. เกรดเอ คัดเอาไปขายสำหรับคนชอบสวมไม้
....ชื่อที่ 2 เขาหินซ้อน สำหรับคนชอบมวยรอง กิ่งขนานแต่กิ่งยืด แตกกิ่งเยอะ
....ชื่อที่ 3 มกพ. สำหรับฟอร์ม กิ่งชี้ 45 องศา
....ชื่อที่ 4 ชฎพ. ถ้าใบออกฟ้ากิ่งถี่
....ชื่อที่ 5 บางคล้า เป็นชื่อสุดท้ายที่ไร้ฟอร์ม
.... ใบ ดอก ของแต่ละชื่อมีลักษณะอย่างไร ตอบได้เลยว่า ไม่เหมือนกันซักต้น เพราะว่ากิ่งแม่พันธุ์ที่
เรามีอยู่ มันยังไม่ได้ผ่านการปรับปรุงสายพันธุ์ จนสามารถให้ลูกได้มีลักษณะที่เหมือนกันทั้งหมด
ดังนั้นท่านไม่ต้องแปลกใจว่า ชื่อไม้เดียวกัน ทำไม จึงไม่เหมือนกัน
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgSS6pgR3tnRiUHyZt8KzQyADt9irqCYLffNF4DsFsxKC2lMalHc50EBk8FkrtIDIcC7rdy1dlPqKhsFC2hiep3xMLNf3POOqo_hHE7lzVuC3Ya7U5rV_cmknDIUvSWq_nJoWRfj0zkamw/s320/11-20081021181752.jpg)
ภาพที่ 1 เป็นเขาหินซ้อน เป็นลูกของกิ่งดำริ
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhJYOISdCqpr47XVZX1LAD-5EXtzUONwsn-Jl5-q3iJRgMI8t6UknnX67HP8cLdf51JZjnBgjlGN_KETxgN0JwJwks4ha3ffJ9glFA3Ga0QIOzHkX1NU-2-jlrxwlOcKm26yNtpSUfoOYk/s320/11-20081021181834.jpg)
ภาพที่ 2 เขาหินซ้อน เป็นลูกของกิ่งดำริ
ทั้ง 2 ต้น ใบ กิ่ง ฟอร์ม ดอก แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
ตัวอย่างฟอร์ม
1. มกท. กิ่งขนานพื้น รากสวย สวยไร้ที่ติ กิ่งส่วนใหญ่แตกจากคอไม้ กิ่งย่อยน้อย จะแตก
กิ่งย่อยมากเมื่อไม้ได้อายุแล้ว
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgPjs26ma1AYIkvQ8IIZqGURRrtP4icjmWUFvEC45Pq9TuMlOm9NWjf1563-jMrmJi_Rx7hRV7SBBhi7eRbRpbaz5YI2_9QRSY-KnUAUaM1sgp4gq08w3OOKnDUv9QNx3FQkJjT-4ckbtE/s320/11-20081021181918.jpg)
ต้นจริง
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEioEKmOeZb_jrvNdeXbTaaTxAy0ry0wmTINPgozEQApG3cW0wsj9KUM3I2oqT1Gd3ZzAitNIs_z77Nfsh37pfffqWCAXGWn0b2eKQ4PS7WaqAvzuJfXIQgyn8qw_OCzlhmQmED1ZN66U8M/s320/11-20081021181953.jpg)
2. มกพ. ตำหนิตรงที่ ต้นขาว ผิวสวย กิ่งชี้ 45 องศา ไม่นาดพื้น มีคอไม้
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhEzbyblOQcU27FLIeybg_NGoGIXo-uJ0ZUEwTwByaXwQ1eyMRSISROnv2lTphrL_asNtUZHgxfcTwklLbd0WIKHFNKJZ_6U2rlBE5AHfDIOr6KfSVjATmXjLtUoK6OiehYTv-P79EaJXw/s320/11-20081021182030.jpg)
ต้นจริง
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiQ_HH5BohBoh2BvRRSEpbilMLhbRxp9gUMDxR5Kl5Fr6gKDoJbykiS-8yWQQfeN0caz9odd2TP6IGVwNR1ccMGUnJAaCgqjOz5558gnUwVT53TYv-82H7nYwc6ATP7AbyEqzBwN5Tvrus/s320/11-20081021182110.jpg)
3. เขาหินซ้อน ตำหนิรูปพรรณสัญฐาน คล้าย มกท. ต่างตรง กิ่งยืดกว่า(อันนี้แล้วแต่แดดด้วย) และกิ่งเยอะกว่า แตกกิ่งแขนง(กิ่งย่อย)ไวกว่า และมากว่า มกท.
ต้นจริง
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgwBbXuc2pJKt9qEILISKMiUR37klAKhhvhifmWM4YTsWBiHYsTXhkcD2v9GnD77JgSYunEf8bfSMDfHcYj8znu2NjJkr6sbcXQozIUT-NR8ue02p6vTuiZAb2MTRPUA6IOlAAbLqQekYQ/s320/11-20081021182219.jpg)
4.ชฎาเพชร ข้อถี่ ใบฟ้า แตกกิ่งเยอะมาก จะสวยมากในไม้เล็ก ทำไม้อ้วนเตี้ยได้ง่าย(ต้องทำเป็นด้วย)
แต่พอโตขึ้น หรือเลี้ยงตามธรรมชาติจะหลุดฟอร์ม
5. สุดท้ายที่ ชื่อบางคล้า ไม้สายนี้ทุกตัวที่ตั้งชื่อไม่ได้ บ้างก็บอกว่าผิวเขียว บ้างก็บอกว่าผิวขี้กลาก บ้างก็ว่าใบบาง บ้างก็ว่าใบหนาเขียว สารพัดจะว่า เพราะนั่นคือ ความไม่นิ่งของชวนชม
ขอขอบคุณ คุณกฤตย์ ลูกไม้ไทย
บทความนี้คัดลอกมาจาก http://www.pantown.com/board.php?id=30006&area=4&name=board7&topic=11&action=view